บันทึกการเรียนครั้งที่ 9
แฟ้มสะสมงานรายวิชาการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันศุกร์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2555
วันศุกร์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนครั้งที่ 7
วันนี้อาจารย์ได้สอนเกี่ยวกับเรื่อง " มาตรฐานของคณิตศาสตร์ " คือ เกณฑ์ คุณภาพ กิจกรรม การยอมรับ
ความหมายของ สสวท.
สสวท. คือ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สสวท.มีหน้าที่หลัก คือ ทำให้
การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ของนักเรียนไทยได้มาตรฐาน ให้ครูสามารถสอนนักเรียนให้เรียนรู้และเข้าใจในเรื่องที่สอนได้ รับผิดชอบระบบการศึกษาทุกระดับครอบคลุมทั่วประเทศ พร้อมทั้งยังสามารถเรียนรู้ผ่านการออนไลน์ โดยมีห้องสมุดออนไลน์ มีความรู้ทั้งหมดที่เกี่ยวกับการเรียนการสอน
กรอบของคณิตศาสตร์ สสวท ได้จัดให้มีการเปิดตัวกรอบมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ปฐมวัยในทางวิทยาศาสตร์เป็นที่ยอมรับว่า การเรียนรู้ในช่วงชีวิต 0-6 ขวบ นั้นจะเป็นตัวกำหนดทุกสิ่งทุกอย่าง มนุษย์แต่ละคนจะโตขึ้นเป็นคนอย่างไรขึ้นอยู่กับช่วงวัยนี้ เพราะเซลล์สมองจะมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว เราจึงให้ความสำคัญต่อเด็กในวัยนี้ “ คุณภาพของครูเป็นเรื่องที่สำคัญ ครูต้องมีจิตวิญญาณของความเป็นครู ต้องมีโอกาสก้าวหน้า และมีแรงจูงใจให้แก่ครู หลักสูตรต้องเปลี่ยนแปลง คือ 70-30 เปอร์เซ็นต์ระหว่างเล่นและเรียน เด็กปฐมวัยต้องเน้นที่การเล่นมากกว่า ที่สำคัญการปฏิรูปการศึกษาไม่ใช่หน้าที่ของกระทรวง ศึกษาธิการอย่างเดียว
แต่เป็นหน้าที่ร่วมกันของผู้ปกครอง และทุกส่วนในสังคม ”
วันศุกร์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2555
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 6
-อาจารย์ให้นักศึกษาส่งงานที่สั่งไว้ในสัปดาห์ที่แล้ว
-อาจารย์ได้ให้นักศึกษาจับกลุ่ม กลุ่มละ 11 คน โดยแบ่งเป็น 3กลุ่ม และให้นักศึกษาจินตนาการว่ากล่องที่แต่ละคนเตรียมมาเป็นของใช้อะไร ซึ่งกล่องที่ดิฉันเตรียมมาเป็นกล่องขนาดใหญ่ ดิฉันเยนึกถึง Tablet เพราะว่ามีขาดที่ใกล้เคียงกัน และอาจารย์ก็ให้แต่ละกลุ่มนำกล่องมาต่อกัน โดยมีเงื่อนไขดังนี้
- กลุ่มที่ 1 สามรถที่จะวางแผนกันก่อนได้ และปรึกษากันได้ (ประดิษฐ์เป็นรูปหุ่นยนต์)
- กลุ่มที่ 2 สามารถที่ตะปรึกษากันได้ แต่จะต้องลงมือต่อทีละคน (ประดิษฐ์เป็นรูปหุ่นยนต์)
- กลุ่มที่ 3 ไม่สามารถที่จะปรึกษากันได้ และให้ต่อทีละคน (ประดิษฐ์เป็นรูปชานชลารถไฟ) กลุ่มของดิฉัน
วันศุกร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนครั้งที่ 5
-อาจารย์ได้อธิบายเกียวกับฃอบฃ่ายของวิชาคณิตศาสตร์
ขอบข่ายของคณิตศาสตร์ อ้างอิงโดย อาจารย์นิตยา ประพฤติกิจ
- การนับ
- ตัวเลข
- การจับคู่
- การจัดประเภท
- การเปรีบยบเทียบ
- การจัดลำดับ
- รูปทรงและเนื้อที่
- การวัด
- เซต
- เศษส่วน
- การทำตามแบบลวดลาย
- การอนุรักษ์
- การจัดกลุ่ม
- การฝึกหัด
- ระบบจำนวน
- ความสัมพันธ์ระหว่างเซตต่างๆ
- คุณสมบัติของคณิตศาสตร์จาการรวมกลุ่ม
- ลำดับที่
- การวัด
- รูปทรงเรขาคณิต
- สถิตติและกราฟ
-โดยให้จับคู่และให้นำขอบข่ายของ นิตยา ประพฤติกิจ มาเขียนเป็นตัวอย่างสิ่งที่จะนำมาสอนเด็กๆ ตามขอบข่ายที่ได้เรียนมา โดยให้ส่งสัปดาห์หน้า
-ให้นักศึกษาเตรียมกล่องสี่เหลี่มมาคนละ 1กล่อง
วันศุกร์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 3
วันนี้อาจารย์ให้จับกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน แล้วให้สรปงานที่ได้หามา ของแต่ละคนในสัปดาห์ที่แล้ว ซึ่งของดิฉันมี ดังนี้
1.นางสาวจันทร์จิรา เนาวะดี
2.นางสาวรสสุคนธ์ พูลสินธ์
3.นางสาวระพีพร พลทิพย์
1.ความหมายของคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่เกี่ยวกับความคิด คณิตศาสตร์เปรียบเสมือนภาษาหนึ่ง คณิตศาสตร์เปรียบเสมือนโครงสร้างที่รวบรวมความรู้ คณิตศาสตร์เป็นเกมการศึกษาที่เกี่ยวกับแผน และคณิตศาสตร์ก็ยังเป็นศิลปะอีกอย่างหนึ่งด้วย
2.ทฤษฎีการสอนคณิตศาสตร์
การให้ความรู้ที่ถูกต้องและชัดเจน เป็นความรู้ที่รวบรวมได้อย่างมีระเบียบ โดยการจัดความรู้ให้มีโครงสร้างที่เหมาะสมโดยใชการละเล่นพื้นบ้าน สอนการเปรียบเทียบ การวัดระยะทาง การบวกการลบการคูณและการหาร สอนเทคนิคในการทำโจทย์เลข ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน มีโอกาสทีจะพูดคุยกับผู้อื่น กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความต้องการที่จะเรียนรู้ แก้ปัญหาต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการเล่นบทบาทสมมติ และการเล่นเกม
3.ขอบเขตคณิตศาสตร์
เนื้อหาที่เริ่มด้วยความรู้เบื้องต้น คุณสมบัติของจำนวนเต็มและขั้นตอนของยุคคลิด ขอบข่ายคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ดดยนำเนื้อหาการสอนแนวใหม่ เพื่อจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก ดังนี้
1.การจัดกลุ่มหรือเซต
2.จำนวน
3.ระบบจำนวน
4.ความสัมพันธ์ระหว่างเซต
5.สมบัติคณิตศาสตร์จากการร่วมกลุ่ม
6.ลำดับที่ความสำคัญและประโยชน์คณิตศาสตร์
7.การวัดรูปทรงเรขาคณิต
8.สถิติและกราฟ
1.ความหมายของคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่เกี่ยวกับความคิด คณิตศาสตร์เปรียบเสมือนภาษาหนึ่ง คณิตศาสตร์เปรียบเสมือนโครงสร้างที่รวบรวมความรู้ คณิตศาสตร์เป็นเกมการศึกษาที่เกี่ยวกับแผน และคณิตศาสตร์ก็ยังเป็นศิลปะอีกอย่างหนึ่งด้วย
2.ทฤษฎีการสอนคณิตศาสตร์
การให้ความรู้ที่ถูกต้องและชัดเจน เป็นความรู้ที่รวบรวมได้อย่างมีระเบียบ โดยการจัดความรู้ให้มีโครงสร้างที่เหมาะสมโดยใชการละเล่นพื้นบ้าน สอนการเปรียบเทียบ การวัดระยะทาง การบวกการลบการคูณและการหาร สอนเทคนิคในการทำโจทย์เลข ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน มีโอกาสทีจะพูดคุยกับผู้อื่น กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความต้องการที่จะเรียนรู้ แก้ปัญหาต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการเล่นบทบาทสมมติ และการเล่นเกม
3.ขอบเขตคณิตศาสตร์
เนื้อหาที่เริ่มด้วยความรู้เบื้องต้น คุณสมบัติของจำนวนเต็มและขั้นตอนของยุคคลิด ขอบข่ายคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ดดยนำเนื้อหาการสอนแนวใหม่ เพื่อจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก ดังนี้
1.การจัดกลุ่มหรือเซต
2.จำนวน
3.ระบบจำนวน
4.ความสัมพันธ์ระหว่างเซต
5.สมบัติคณิตศาสตร์จากการร่วมกลุ่ม
6.ลำดับที่ความสำคัญและประโยชน์คณิตศาสตร์
7.การวัดรูปทรงเรขาคณิต
8.สถิติและกราฟ
4.หลักการสอน
การสอนแบบอภิปราย หมายถึง วิธีการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนรู้จักทำงานเป็นกลุ่ม ผู้เรียนจะระดมความคิดเพื่อพิจารณาปัญหา ช่วยกันหาข้อท็จจริงหาเหตุผลร่วมกัน การสอนแบบอภิปราย ฝึกให้ผู้เรียนรู้จักคิดกล้าแสดงความคิดเห็น รู้จักค้นคว้า แก้ปัญหาร่วมกันแบบปรชาธิปไตย เพื่อพัฒนาความคิด การสอน การพูด การฟัง สามารถที่จะสรุปสาระสำคัญจากอภิปรายได้ การสอนคณิตศาสตร์มีหลักการสอนดังนี้ สอนให้เหมือนรูปแบบของศิลปะ
วันศุกร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
บันทีกการเข้าเรียนครั้งที่ 2
วันนี้เป็นการเรียนในคาบที่ 2 ซึ่งเมื่อเข้ามาถึงในห้องอาจารย์ก็ได้ให้นักศึกษาที่มาแล้วได้เซ็นต์ชื่อเข้าเรียน แล้วหลังจากนั้นอาจารย์ก็ได้ให้นักศึกษาได้ลิ้งค์บล๊อกลงในบล๊อกของอาจารย์จนเกืแบครบทุกคน และหลังจากนั้นอาจารย์ก็ได้แจกกระดาษให้นักศึกษาคนละ 1 แผ่น แล้วก็ให้เขียน คำว่าคณิตศาสตร์ การจัดประสบการณ์ และคำว่าเด็กปฐมวัย เป็นภาษอังกฤษ และ อาจารย์ก็ห้ามไม่มห้ถามเพื่อนหรืดูจากที่อื่น เพื่อที่จะได้ให้นักศึกษาได้หัดเขียนและคิดด้วยตัวเอง ให้มีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง
**อาจารย์ก็ได้ให้ไปสำนักวิทยบริการ เพื่อที่จะให้ไปสำรวจหนังสือคณิตศาสตร์ทั่วไป
วันจันทร์ที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
บันทึกการเข้าเรัยนครั้งที่1
วันนี้เป็นการเรียนครั้งแรกในการเรียนวิชาการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ซึ่งในครั้งนี้อาจารย์ก็ได้สร้างข้อตกลงในการเข้าเรียนและการทำบล๊อก รวมไปถึงการแต่งกายให้ถูกระเบียบในการเข้าเรียน รวมไปถึงการกำหนดเวลาส่งบล๊อก เมื่ออาจารย์และนักศึกษาสร้างข้อตกลงร่วมกันแล้ว อาจารย์ก็ได้แจกกระดาษให้นักศึกษาคนละแผ่น และอาจารย์ก็ได้ให้เขียน 2 หัวข้อนี้
1.ให้นักศึกษาเขียนประโยคอะไรก็ได้มา 2 ประโยค ที่เกี่ยวกับการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
2. ให้นักศึกษาเขียนความคาดหวังในการเรียนวิชานี้ และจะทำให้เรารู้เรื่องหรืมีปรสบการณ์ในเรื่องใดบ้าง
- คณิตศาตร์ คือ การคิดวิเคราะห์และการคำนวณเพื่อมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
- พัฒนาการ คือ การเปลี่ยนแปลงไปตามลำดับขั้นตอนไปอย่างต่อเนื่อง
- การเรียนรู้ คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
- ควมพร้อม คือ ขั้นหนึ่งของกสรลำดับขั้นตอนในการเรียนรู้
พัฒนาการทางด้านสติปัญญาของเพียเจต์ แบ่งเป็นลำดับขั้น ดังนี้
1.ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว (Sensori-Motor Stage) ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี พฤติกรรมของเด็กในวัยนี้ขึ้นอยู่กับการเคลื่อนไหวเป็นส่วนใหญ่ เช่น การไขว่คว้า การเคลื่อนไหว การมอง การดู ในวัยนี้เด็กแสดงออกทางด้านร่างกายให้เห็นว่ามีสติปัญญาด้วยการกระทำด็กสามารถแก้ปัญหาได้ แม้ว่าจะไม่สามารถอธิบายได้ด้วยคำพูด เด็กจะต้องมีโอกาสที่จะปะทะกับสิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับพัฒนาการด้านสติปัญญาและความคิดในขั้นนี้ มีความคิดความเข้าใจของเด็กจะก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว
2.ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด (Preoperational Stage) ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่อายุ 2-7 ปี แบ่งออกเป็นขั้นย่อยอีก 2 ขั้น คือ
2.1ขั้นก่อนเกิดสังกัป (Preconceptual Thought) เป็นขั้นพัฒนาการของเด็กอายุ 2-4 ปี เป็นช่วงที่เด็กเริ่มมีเหตุผลเบื้องต้น สามารถจะโยงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ หรือมากกว่ามาเป็นเหตุผลเกี่ยวโยงซึ่งกันและกัน แต่เหตุผลของเด็กวัยนี้ยังมีขอบเขตจำกัดอยู่ เพราะเด็กยังคงยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง คือถือความคิดตนเองเป็นใหญ่
2.2ขั้นการคิดแบบญาณหยั่งรู้ นึกออกเองโดยไม่ใช้เหตุผล (Intuitive Thought) เป็นขั้นพัฒนาการของเด็ก อายุ 4-7 ปี ขั้นนี้เด็กจะเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รวมตัวดีขึ้น รู้จักแยกประเภทและแยกชิ้นส่วนของวัตถุ เข้าใจความหมายของจำนวนเลข เริ่มมีพัฒนาการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ แต่ไม่แจ่มชัดนัก สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้โดยไม่คิดเตรียมล่วงหน้าไว้ก่อน รู้จักนำความรู้ในสิ่งหนึ่งไปอธิบายหรือแก้ปัญหาอื่นและสามารถนำเหตุผลทั่วๆ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)